วันพุธที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2554

Final Design Project: ส3.(Results)

สรุปการดำเนินงานตามหลัก 3ส.


ขั้นตอนการออกแบบกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์
1.สืบค้นจากบรรจุภัณฑ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องและข้อมูลสินค้า
- บรรจุภัณฑ์ข้าวเกรียบข้าวโพด โดยทั่วไปที่เห็นเป็นการห่อถุงพลาสติกใสหรือการบรรจุลงในขวดพลาสติกฝาเปิดเพื่อสะดวกเวลาเปิดรับประทาน
- กราฟิกที่ใช้ จะใช้เป็นป้ายสี่เหลี่ยมผืนผ้า และป้ายที่ใช้สำหรับปิดปากบรรจุภัณฑ์
-กราฟฟิกไม่เน้นสีสันมากมาย
  เริ่มต้นสืบค้นข้อมูลสินค้าและบรรจุภัณฑ์ที่เกี่ยวกับข้าวโพดหวาน สินค้าแปรรูปของข้าวโพดหวานที่มีและศึกษากราฟฟิก การออกแบบ ประเภทสินค้า เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบและพัฒนาสินค้าให้มีสินค้าที่หลากหลายขึ้น
การตรวจสอบและศึกษาบรรจุภัณฑ์ที่มีในท้องตลาดเพื่อนำมาพัฒนาโดยการศึกเก็บรวมรวมข้อมูลต่าง     วิเคราะห์โลโก้ ส่วนใหญ่จะใช้ภาพกราฟฟิกของข้าวโพดมาเป็นโลโก้หรือส่วนหนึ่งในโลโก้ สีที่ใช้เป็นสีเขียวกับสีเหลืองซึ่งสือได้โดยตรงคือข้าวโพดนั้นเองและสีฟอนต์จะเป็นสีดำเพื่อให้อ่านได้ชัดเจนและนำมาวิเคราะห์เพื่อให้ได้บรรจุภัณฑ์ที่ทันสมัยและเพื่อให้เหมาะแก่ความต้องการของลูกค้าโดย




2.สมมติฐาน
ต้องการสร้างบรรจุภัณฑ์ข้าวเกรียบข้าวโพดโดยที่รูปทรงของบรรจุภัณฑ์ที่ได้แนวคิดมาจากข้าวโพดจริง
-ต้องการบรรจุภัณฑ์ที่เป็นกระดาษและสามารถเปิดบริโภคได้ง่าย
-สามาถเก็บป้องกันความชื้นที่จะให้สินค้าหมดสภาพด้วยการใช้ถุงพลาสติกเป็นบบรจุภัณฑ์ภายใน
-สร้างบรรจุภัณฑ์ที่แปลกใหม่และเพื่อการส่งออกไปยังต่างประเทศด้วย

แบบจำลองคล้ายจริง ครั้งที่ 1


ปัญหา เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 1
1.             ลำบากขั้นตอนกระบวนการบรรจุสินค้าลง
2.             ปากเปิดขนาดบรรจุภัณฑ์มีขนาดเล็กเกินไป
3.             ชื่อสินค้าและโลโก้ไม่สร้างแรงจูงใจการซื้อมากนัก
4.             รูปทรงของบรรจุภัณฑ์ค่อนค้างเป็นบรรจุภัณฑ์ชั้นที่สองอาจทำให้สินเปลืองค้าใช้จ่าย
5.             ใส่ผลิตภัณฑ์ได้จำนอนน้อยเกินไป
แก้ไขและปรับปรุงครั้งที่ 1
1.เปลี่ยนชื่อสินค้า และโลโก้
2.เปลี่ยนรูปทรงของบรรจุภัณฑ์จากขนาดเดิม
3.ใช้ภาพสินค้าจริงเป็นภาพประกอบบนบรรจุภัณฑ์
แบบจำลองคล้ายจริง ครั้งที่ 2
                เป็นบรรจุภัณฑ์ประเภทกระป๋องกระดาษ ภายในเคลือบด้วยอลูมิเนียมฟรอยด์ มีฝาปิดปากขวดและกราฟิกติดลงบนฝาพลาสติกด้วย
ปัญหาครั้งที่ 2
1.ชื่อสินค้าและโลโก้ไม่เหมาะกับสินค้า
2.การจัดวางไม่มีความเป็นเอกภาพ
3.ภาพประกอบดูไม่น่าสนใจ มีลักษณะคล้ายสินค้าเน่าเสีย ไม่น่ารับประทาน
แก้ไขและปรับปรุงครั้งที่  2
1.เปลี่ยนชื่อสินค้า และโลโก้
2.แก้สีโดนใช้สีโทนร้อน
3.ถ่ายภาพสินค้าใหม่ ให้สินค้ามีแรงดึงดูดดูน่ารับประทาน
4.จักวางองค์ประกอบบนฉลากใหม่
3.สรุป
ขั้นตอนและวิธีการออกแบบ
1.ดำเนินการตามแบบที่ออกแบบไว้และจำทำแบบจำลองคล้ายของจริง

2..ถ่ายภาพสินค้าเพื่อไดพคัททำภาพประกอบ






4.ออกแบบโลโก้











5.จัดทำ ART WORK วัดขนาดตามจริง










7.สร้างแบบจำลองคล้ายจริง
รายละเอียดเกี่ยวกับกราฟิกบนฉลาก
1 ฟอนต์ที่ใช้ในการออกแบบ
ks_ksam regular
DSL Display Regular
Adube Arobic
ZF-Imright
-DB Selom Bold
-JS Chaimo
2.สีที่ใช้ในบรรจุภัณฑ์ ชิ้นที่1 รสพริก โหมด CMYK

สร้างแบบจำลองบรรจุภัณฑ์คล้ายจิง








ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Related Posts Plugin for WordPress, Blogger...